วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556

อาการโรคเบาหวาน แก้ปัญหาด้วย คาวตอง พลัส

อาการโรคเบาหวาน (Diabetes Symptom)  มีหลายอาการแต่อาการที่เห็นได้ชัดอย่างหนึ่งคือการถ่ายปัสสาวะบ่อยซึ่งเป็นทั้งตอนกลางวันและกลางคืน การถ่ายปัสสาวะบ่อยเกิดจากกลไกของไตที่พยายามจะกรองแยกเอาสารอาหารที่มีประโยชน์ (น้ำตาล) กลับคืนสู่ร่างกายและคัดแยกเอาของเสียออกจากเลือดแล้วขับออกจากร่างกายไปโดยส่งไปพร้อมกับปัสสาวะจึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ การถ่ายปัสสาวะบ่อยตอนกลางวันก็ไม่น่าจะมีปัญหาอะไรนอกจากผู้ป่วยจะรู้สึกรำคาญกับอาการโรคเบาหวานที่เป็นอยู่แต่การปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืนนอกจากจะสร้างความหงุดหงิดรำคาญให้กับผู้ป่วยแล้วยังทำให้ผู้ป่วยพักผ่อนไม่เพียงพอซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้

 

        อาการโรคเบาหวานของผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia)  เมื่อเลือดไหลผ่านไต ไตก็จะทำหน้าที่กรองหรือคัดแยกระหว่างของดีและของเสียที่อยู่ในเลือด ไตจะจัดการส่งของดีเช่นน้ำตาลและสารอาหารต่างๆกลับคืนไปกับกระแสเลือดและส่งของเสียอื่นๆ ที่ปะปนอยู่ในเลือด ทิ้งไปกับน้ำปัสสาวะจึงเป็นเหตุให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องปัสสาวะบ่อยๆ

         ความสามารถของไตในการคัดแยกเพื่อนำสารอาหารดีกลับคืนและส่งของเสียทิ้งไปกับน้ำปัสสาวะก็มีข้อจำกัดเหมือนกัน หากระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (คนปกติ) ความสามารถขอไตจะสามารถดึงน้ำตาลกลับคืนสู่ระบบได้ทั้งหมด ดังนั้นการตรวจปัสสาวะของคนปกติที่ไม่ได้เป็นเบาหวานจะตรวจไม่พบน้ำตาลในปัสสาวะ

        ในกรณีของผู้ป่วยที่มีอาการโรคเบาหวานนั่นคือระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าเกณฑ์ปกติ ทำให้เกินความสามารถของไตที่จะนำน้ำตาลกลับสู่ระบบได้ คนที่เป็นโรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) จึงมีน้ำตาลหลุดออกมาปะปนอยู่ในปัสสาวะและเนื่องจากน้ำตาลส่วนเกินที่ไตไม่สามารถดูดคืนสู่ระบบได้จะถูกส่งผ่านไปกับน้ำปัสสาวะคือต้องมีน้ำเป็นตัวส่งผ่านน้ำตาลออกจากร่างกายจึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องถ่ายปัสสาวะบ่อยกว่าคนปกติ

        การตรวจหาอาการโรคเบาหวานด้วยการตรวจปัสสาวะนั้น (Urinary Analysis) ถ้าผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ที่ประมาณ 140-180 มิลลิกรัม/เดซิลิตร การตรวจปัสสาวะว่ามีน้ำตาลปนอยู่มากน้อยหรือไม่นั้นอาจได้ผลที่ไม่ชัดเจนเนื่องจากระดับน้ำตาลในเลือดที่ระดับนี้ยังไม่เกินความสามารถของไตที่คอยสกัดกั้นและดึงน้ำตาลกลับคืนสู่ระบบได้ การตรวจหาเบาหวานจากการตรวจระดับน้ำตาลในปัสสาวะจึงอาจให้ผลที่ไม่แน่นอนหากต้องการผลการตรวจว่าเป็นเบาหวานหรือไม่ที่ได้ผลแน่นอนควรใช้วิธีตรวจหาน้ำตาลในเลือด (FBS : Fasting Blood Sugar) จะให้ผลที่แน่นอนกว่า
     สำหรับผู้ป่วยเบาหวานที่ชอบออกกำลังกายควรหาทางป้องกันไม่ให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในช่วงที่กำลังออกกำลังกายและหลังออกกำลังกายโดยการกินอาหารว่างจำพวกแซนด์วิช แครกเกอร์ ฯลฯ ก่อนการออกกำลังกายก็จะช่วยป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเบาหวานเกิดอาการภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้.

โรคเบาหวานขึ้นตา (Diabetic Retinopathy) สาเหตุและอาการ
   โรคเบาหวานขึ้นตา (Diabetic Retinopathy) เป็นอาการแทรกซ้อนอย่างหนึ่งของโรคเบาหวานเนื่องจากระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้นมากและผลจากน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้นจะแสดงผลออกมาบริเวณดวงตาทำให้บริเวณลูกตาหรือจอรับภาพมีเลือดออกมาบดบังการมองเห็น หากปล่อยให้อาการรุนแรงขึ้นจะทำให้อาการลุกลามจนทำให้สูญเสียการมองเห็นหรือตาบอดได้

    การอุดตันของเส้นเลือดในดวงตาทำให้เส้นประสาทตาขาดเลือดไปเลี้ยง ร่างกายจะมีการสร้างเส้นเลือดใหม่ขึ้นมาแทนในส่วนของจอรับภาพที่ขาดเลือดไปเลี้ยง แต่เส้นเลือดใหม่เหล่านี้มีความเปราะบางและถูกสร้างขึ้นใหม่แบบไม่มีระเบียบจึงทำให้แตกได้ง่ายทำให้เกิดผลต่อเนื่องคือมีเลือดขังอยู่ในลูกตาซึ่งรบกวนการมองเห็นของผู้ป่วยหรืออาจทำให้ตามืดลงอย่างทันทีก็ได้

    หากตรวจพบเบาหวานขึ้นตา (Diabetic Retinopathy) โดยเร็วจะทำให้การดูแลรักษาเป็นไปได้ดีขึ้น การตรวจสุขภาพดวงตาปีละครั้งเป็นการป้องกันอาการผิดปกติที่จะเกิดขึ้นกับดวงตาได้ หากมีโรคแทรกซ้อนต่างๆที่เริ่มเกิดขึ้นจะตรวจพบได้แต่เนิ่นๆ ซึ่งจะส่งผลดีต่อการดูแลรักษา โรคเบาหวานเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับระบบต่างๆของร่างกายซึ่งอาจจะส่งผลกระทบกับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายได้ทุกเมื่อ ดังนั้นควรให้ความสนใจกับการตรวจสุขภาพประจำปีอย่างน้อยปีละครั้งเพื่อความปลอดภัยของคุณเอง
     ผู้ที่เข้าข่ายและมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus)
      อาการเบาหวาน (Diabetes Symptom) ที่เป็นที่รู้จักกันดีอยู่แล้วคือเวลาฉี่แล้วมดจะขึ้นปัสสาวะ นอกจากนี้อาการอื่นๆเช่น คอแห้ง กินเก่ง ดื่มน้ำบ่อย ปัสสาวะบ่อย น้ำหนักตัวลดลงทั้งๆที่กินเก่ง นี่คืออาการของโรคเบาหวานที่สามารถสังเกตได้ไม่ยาก แต่บางทีผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานจะมีอาการที่กล่าวมาเพียงบางอาการเท่านั้นและอาการก็ไม่ชัดเจนทำให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากการทำงานหนักหรือเครียด

           คนที่อยู่ในข่ายที่มีโอกาสเป็นเบาหวาน (Diabetes) คือ อายุเกิน 45 ปีและมีรูปร่างที่เรียกว่า อ้วนหากเคยมีญาติสายตรงเคยเป็นเบาหวานมาก่อนด้วยแล้วจะมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นเบาหวาน หากเคยตรวจร่างกายแล้วปรากฏว่าระดับน้ำตาลในเลือดค่อนข้างสูงแม้จะยังไม่ถึงขั้นที่เรียกว่าเบาหวานก็อาจเป็นน้องเบาหวานก็ได้ ส่วนข้อสังเกตอื่นๆที่ทำให้มีความเสี่ยงที่จะเป็นเบาหวานเช่น เคยมีประวัติโรคหลอดเลือดเสื่อม ประวัติการติดเชื้อในระบบขับถ่าย ผิวหนังหรือระบบสืบพันธุ์
   ปัจจุบัน โรคเบาหวานสามารถป้องกันและแก้ปัญหาได้ด้วย ผลิตภัณฑ์ คาวตอง พลัส
   อย. 50-1-16353-1-0013
ดูข้อมูลที่ http://kowtongplusbml.blogspot.com  
    ปริมาณและราคา
    คาวตอง พลัส 1 ขวด ปริมาณ 90 แคปซูล    ราคา   800 บาท
    วิธีรับประทาน  รับประทาน 2 แคปซูลก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
    สั่งซื้อและสมัครเป็นตัวแทนขาย
    คุณ วีระชัย  ทองสา โทร. 085-0250423 , 080-4248112
           อีเมล์ weerachai.coffee@hotmail.com


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น